當前位置

首頁 > 語言學習 > 泰語學習 > 泰語大講堂 “國會”詞彙一覽

泰語大講堂 “國會”詞彙一覽

推薦人: 來源: 閱讀: 1.23W 次

學習泰國的過程中會見到很多非常專業的名詞,各個領域也有自己非常獨特的一些術語,這些術語往往外行人很難明白。今天我們要帶大家去看看和國會議會相關的一些泰語詞彙。

泰語大講堂 “國會”詞彙一覽


1. การขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ (No-Confidence Debate)
1. 不信任案辯 


การขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจ (No-Confidence Debate) คนส่วนใหญ่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า “การอภิปรายไม่ไว้วางใจ” หมายถึง การอภิปรายของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งจะเป็นการเสนอญัตติโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ทำหน้าที่เป็นฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร มักกระทำเมื่อเห็นว่า การบริหารแผ่นดินของคณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีไม่เป็นที่ไว้วางใจ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามจำนวนที่รัฐธรมนูญกำหนด มีสิทธิ์เข้าชื่อเสนอญัตติไม่ไว้วางใจได้ ถือเป็นการควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินวิธีหนึ่ง เป็นมาตรการที่สำคัญและยังเป็นการถ่วงดุลอำนาจของฝ่ายบริหารโดยฝ่ายนิติบัญญัติ
大部分人都會簡稱爲“不信任案討論”,展開不信任案辯論的意思是下議院議員展開辯論,有作爲反對派的下議院議員進行提案,一般在內閣或總理的國家行政工 作導致不信任時會提出討論。根據憲法規定的下議院議員有權進行不信任案提案,這是一種管理國家行政權力的方式,是非常重要的法律,是立法機構對行政機構進行制衡的一種方式。


2. องค์ประชุม (Quorum)
2. 法定 人數


หมายถึง จำนวนต่ำสุดของผู้เข้าร่วมประชุมที่สามารถทำให้การประชุมดำเนินต่อไปได้ ซึ่งมีผลให้การประชุมนั้นเกิดความชอบธรรมและมีผลตามกฎหมาย
意思是能保證會議正常進 行的最少參會人數,對會議是否合法有效有重要影響。

องค์ประชุมของสภาผู้แทนราษฎร : ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภา (ม. 120 รธน. 2560)下議院法定 參會人數:不低於全部議員數量的一半(2017年憲法第120條)องค์ประชุมของวุฒิสภา : ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ (ม. 120 รธน. 2560)上議院法 定參會人數:不低於全部議員數量的一半(2017年憲法第120條)องค์ประชุมของกระทู้ถาม : ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภา (ข้อ 25 ข้อบังคับฯ ส.ส. 2562)異議案法定  參會人數:不低於全部成員數量的五分之一(2019年下議會議員管理條例第25條)องค์ประชุมของคณะกรรมาธิการ : ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำนวนกรรมาธิการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ เว้นแต่ในการประชุมคณะกรรมาธิการที่จะมีการลงมติในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ต้องมีกรรมาธิการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมาธิการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ (ข้อ 92 ข้อบังคับฯ ส.ส. 2562)委員會法定參 會人數:不低於委員會全體成員的三分之一,在委員會需要對議案進行表決時,需要至少一半的成員參會(2019年下議會議員管理條例第92條)



3. การประท้วง (ในสภาผู้แทนราษฎร)
3. 提出異議 (下議院)


หมายถึง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสงสัยว่าการอภิปรายของสมาชิกผู้หนึ่งผู้ใดที่เข้าข่าย ฟุ่มเฟือย นอกประเด็น ซ้ำซาก วนเวียน แสดงกิริยาไม่สุภาพ ใส่ร้าย เสียดสีบุคคลอื่น นำวัตถุใด ๆ เข้ามาแสดงให้ที่ประชุมฟัง กล่าวถึงพระมหากษัตริย์ โดยไม่จำเป็น* สมาชิกผู้ใดต้องการประท้วงให้ยืนและยกมือขึ้นพ้นศีรษะประธานต้องให้โอกาสผู้นั้นชี้แจง คำวินิจฉัยของประธานถือเป็นเด็ดขาด
意思是下議院議員認爲某一位議員存在牽連、鋪張、與工作無關、重複、循環、有不文明行爲、誣陷、諷刺他人、在非必要情況下在會議上拿出提及國王的物品進行展示等等,需 要提出異議的議員要站立將雙手舉過頭頂,議會主席要允許說明情況,議會主席的判決有絕對效力。

*ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2562 ข้อ 69, 71, 72, 178
*2019年下 議會管理條例第69,71,72,178條

泰語大講堂 “國會”詞彙一覽 第2張



4. กระทู้ถาม
4. 質 


กระทู้ถาม คือ ข้อซักถามที่สมาชิกมีต่อนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีกับงานในหน้าที่ โดยจะถามเป็นหนังสือหรือด้วยวาจาก็ได้ กระทู้ถามมี 3 ประเภท คือ
質詢指的是對總理或內 閣工作進行詢問,可以採用書面或口頭均可,質詢共有三種:

กระทู้ถามสดด้วยวาจ口頭 質詢กระทู้ถามทั่วไป一般 質詢กระทู้ถามแยกเฉพาะ特別 質詢



5. สมัยประชุมวิสามัญของรัฐสภา (Extraordinary session)
5. 特 別會議


สมัยประชุมวิสามัญของรัฐสภา (Extraordinary session) หมายถึง การเปิดให้มีการประชุมสภานอกสมัยประชุมสามัญประจำปีของรัฐสภา ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 ให้กระทำโดยพระราชกฤษฎีกา และจะไม่มีการกำหนดวันปิดสมัยประชุม เมื่อเสร็จสิ้นการประชุมก็ถือเป็นการปิดสมัยประชุมวิสามัญนั้น
特別會議意 思是在每年例行會議之外舉行的會議,根據2017年泰國憲法規定,要根據皇家法令舉行,不規定閉會日期,會議結束日期即爲特別會議關閉日期。


6. ญัตติ (Motion)
6.  議案


คือ ข้อเสนอใด ๆ ที่มีความมุ่งหมายให้สภาลงมติหรือชี้ขาดว่าจะให้ปฏิบัติหรือดำเนินการอย่างไร ทั้งนี้ ญัตติ เสนอได้ทั้งเป็นหนังสือหรือด้วยวาจา จะมีผู้รับรองหรือไม่ขึ้นอยู่กับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญหรือที่กำหนดไว้ในข้อบังคับการประชุม
即任何需 要在議會上表決或討論如何推進的議題,議案可以通過書面或口頭的形式提出,根據憲法或會議規定有無保證人均可。


7. พระราชกำหนด (Emergency Decree)
7. 緊急 狀態令


พระราชกำหนดเป็นกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ตราขึ้นโดยคำแนะนำของคณะรัฐมนตรีที่เห็นว่าเป็นกรณีฉุกเฉิน เพื่อประโยชน์ที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจหรือภัยพิบัติสาธารณะ ซึ่งไม่สามารถตราพระราชบัญญัติมาใช้บังคับให้ทันต่อสถานการณ์
緊急狀態令是內閣 提出申請、國王簽署的法令,當內閣認爲國家安全、經濟受到威脅或可能會發生公共災害,此類法令在皇家條例來不及應對緊急情況時頒佈。

泰語大講堂 “國會”詞彙一覽 第3張


8. สมัยประชุมสามัญของรัฐสภา (Ordinary session)
8. 例 行會議


หมายถึง การประชุมสามัญประจำปีของรัฐสภา ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 กำหนดให้ในหนึ่งปีมีสมัยประชุมสามัญของรัฐสภาสองสมัย สมัยละ 120 วัน สมัยแรกเริ่มตั้งแต่วันที่มีการเปิดประชุมเป็นครั้งแรก ส่วนสมัยที่สองรัฐธรรมนูญให้สภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้กำหนดวันเริ่มสมัยประชุม และให้ถือเป็นวันเปิดสมัยประชุมสมัยที่สองของปีตลอดไปจนกว่าสภาผู้แทนราษฎรจะสิ้นอายุหรือครบวาระ
意思是,根據2017年憲法規定的每年固定的例行會議,每年舉行兩次屆例行會議,每屆120天,第一屆在會議開幕當天開始,第二屆由憲法規定下議會自行規定 起始日期,直至下議會任期圓滿結束。


9. พระราชบัญญัติ (Act) / พ.ร.บ.
9. 皇 家條例


หมายถึง กฎหมายที่ออกมาบังคับใช้ โดยผ่านความเห็นชอบตามกระบวนการนิติบัญญัติ เริ่มด้วยการเสนอเป็นร่างพระราชบัญญัติของรัฐสภาเข้าสู่การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาตามลำดับจนผ่านความเห็นชอบของรัฐสภา นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าถวายพระมหากษัตริย์เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยและประกาศใช้บังคับเป็นกฎหมายในราชกิจจานุเบกษา พระราชบัญญัติมี 2 รูปแบบ คือ พระราชบัญญัติที่ตราขึ้นใหม่ทั้งฉบับ และพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมฉบับเดิม
意思是具 有法律效力的條例,符合立法流程,由上下兩院審議通過皇家條例草案,由總理遞交至國王簽字,最後至政府憲報宣佈條例頒佈。皇家條例共有兩種,分別是全新皇家條例和修訂皇家條例。


10. วิป  (Whip)
10.  組織祕書


หมายถึง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ผู้ทำหน้าที่ควบคุมการลงคะแนนเสียงในสภาผู้แทนราษฎร เป็นตำแหน่งที่มีความสำคัญในพรรคการเมืองที่จะติดต่อเชื่อมโยงบรรดาสมาชิกในการทำหน้าที่อย่างเป็นเอกภาพเพื่อประโยชน์ในการลงคะแนนเสียงและทำหน้าที่ประสานงานระหว่างพรรคการเมือง เพื่อให้การดำเนินการของสภาผู้แทนราษฎรดำเนินไปอย่างราบรื่น วิป ทำหน้าที่ในรูปแบบคณะกรรมการประสานงาน ประกอบด้วย คณะกรรมการประสานงานร่วมสภาผู้แทนราษฎร (วิปร่วม) คณะกรรมการประสานงานพรรคการเมืองฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร (วิปฝ่ายค้าน) คณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาล (วิปรัฐบาล)
意思是, 下議院議員,負責議會投票表決管控,是政黨中非常重要的職位,對於聯繫政黨成員一致履行職責,對在投票表決中獲益有着重要的作用,還負責聯絡各個政黨,爲了保證下議院工作能夠順利進行。組織祕書的工作形式採取的是工作聯絡委員會,包括下議院共同組織祕書、反對派組織祕書和政府組織祕書。

泰語大講堂 “國會”詞彙一覽 第4張


11. รัฐธรรมนูญ (Constitutional)
11. 憲法


หมายถึง กฎหมายสูงสุดของประเทศ เป็นกติกาสูงสุดในการปกครอง ซึ่งกำหนดกรอบอำนาจหน้าที่และบทบาทของบุคคลต่าง ๆ รัฐธรรมนูญเป็นเครื่องหมายที่แสดงถึงการปกครองระบอบประชาธิปไตย และเป็นเครื่องหมายที่แสดงให้เห็นว่าประเทศมีการปกครองแบบนิติรัฐ คือ เป็นการปกครองโดยกฎหมาย และในบรรดากฎหมายที่ออกมาบังคับใช้กับพลเมือง รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดหนึ่งเดียวซึ่งกฎหมายอื่นใดจะขัดหรือแย้งไม่ได้
意思是,國家的最高法律,國家統治的最高規定,規定了各類人士的權利義務,憲法是民主政體的標誌,標誌着國家使用法制進行統治,在對國民有效力的各類法律中,憲法是處於最高級別的,其他法律不得與憲法發生衝突。


積累起來,日後說不定哪天就用上了哦~

聲明:本文由滬江泰語編譯整理,素材來自sanook,未經允許不得轉載。如有不妥,敬請指正。