當前位置

首頁 > 語言學習 > 泰語學習 > 曼谷發生集會,民衆要求巴育下臺:“就算是死,我也不怕!”

曼谷發生集會,民衆要求巴育下臺:“就算是死,我也不怕!”

推薦人: 來源: 閱讀: 1.55W 次

曼谷時間7月18日下午四點左右,民主紀念碑處發生集會,學生聯合會團體聯合青年解放團以及其他人員一起,冒着疫情的風險,戴口罩也要進行遊行示威活動,高喊“巴育,下臺!”據悉,人們對巴育的治國方針感到十分不滿,認爲巴育的領導是徹頭徹尾的失敗,讓泰國的經濟一蹶不振。

曼谷發生集會,民衆要求巴育下臺:“就算是死,我也不怕!”

วันที่ 18 ก.ค. ที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย กลุ่มสหภาพนักเรียนนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย และเยาวชนในนามกลุ่มเยาวชนปลดแอก-Free YOUTH รวมตัวจัดกิจกรรมเชิงสัญลักษณ์ เพื่อแสดงออกแนวคิดทางการเมือง

7月18日,泰國學生聯合會成員和Free YOUTH青年解放團體成員在民主紀念碑處聯合聚集,舉行象徵性活動,共同爲政治發聲。

โดยมีกลุ่มนิสิต-นักศึกษา และประชาชนที่สนใจ ทยอยเดินทางมารอร่วมกิจกรรมก่อนเวลากันอย่างต่อเนื่อง โดยยืนรวมตัวกันอยู่บริเวณหน้าร้านแมคโดนัลด์ ซึ่งได้มีการตั้งแผงเหล็กกั้นไว้โดยรอบท่ามกลางการรักษาความปลอดภัยจากเจ้าหน้าที่ตำรวจในเครื่องแบบจากเจ้าหน้าที่ตำรวจทั้งชาย-หญิง สน.สำราญราษฎร์ สน.ชนะสงคราม และ สน.นางเลิ้งกว่า 50 นาย ที่กระจายกำลังดูแลความปลอดภัยบริเวณโดยรอบ รวมทั้งประจำอยู่รอบบริเวณอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย

學生團體和關心時政的人民都陸續不斷地提前趕到聚集處等待儀式開始,大家聚集着站在麥當勞店附近,周圍已經擺了很多鐵柵欄隔開,時刻處於治安警戒之中,有來自桑蘭拉特警局、差納頌堪警局,以及南朗警局的五十餘名男警女警身穿制服分佈在附近地區以維持秩序,還駐守在了民主紀念碑周圍。

曼谷發生集會,民衆要求巴育下臺:“就算是死,我也不怕!” 第2張

ต่อมาเวลา 16.20 น. บรรยากาศเริ่มเกิดความวุ่นวายขึ้น เมื่อกลุ่มผู้ชุมนุมได้มีการนำรถกระบะมาจอดบริเวณหน้าร้านแมคฯ จากนั้นกลุ่มสหภาพฯ ได้หยิบโต๊ะเก้าอี้เดินลงถนนไปตั้งเป็นเวทีขนาดย่อม ส่งผลให้ผู้ชุมนุมขยับแผงเหล็กที่กั้นอยู่ลง พร้อมฮือกันเดินไปร่วมกับกลุ่มสหภาพฯ โดยกลุ่มผู้ชุมนุมต่างโห่ร้องแสดงความดีใจ ที่สามารถเดินลงไปชุมนุมบนถนนได้เป็นผลสำเร็จ โดยต่างตะโกน "ประยุทธ์ ออกไป" พร้อมทั้งชูสามนิ้ว

曼谷時間下午四點二十分鐘,當聚集羣衆將皮卡車停在麥當勞門口一帶時,氣氛便逐漸躁動起來。隨後,學生聯合會成員們擡着桌椅走到馬路上,搭建起一個小型舞臺,人羣又將隔在面前的鐵柵欄移開,一邊呼喊一邊和學生會成員一起遊行。遊行羣衆大喊着,爲自己能夠成功在馬路上游行而宣示內心的激動,人人都伸出三根手指(▼ 如下圖),嘴裏大喊着:“巴育,下臺。”

曼谷發生集會,民衆要求巴育下臺:“就算是死,我也不怕!” 第3張

ขณะที่เจ้าหน้าที่ตำรวจได้พูดออกเครื่องขยายเสียงขอควมมร่วมมือไม่ให้ผู้ชุมนุมลงถนนเพราะเป็นการกีดขวางการจราจร แต่ก็ไม่สามารถห้ามผู้ชุมนุมได้ โดยเจ้าหน้าที่ตำรวจพยายามเจรจาขอให้ผู้ชุมนุมกลับขึ้นไปอยู่บนฟุตปาธแทน

與此同時,警察用擴音器喊話,希望人們能夠好好配合,不要上街遊行,因爲會阻礙交通。但這並不能阻止遊行羣衆,警方也不斷與人們談判,希望大家回到人行道上去。

曼谷發生集會,民衆要求巴育下臺:“就算是死,我也不怕!” 第4張

จากนั้น นายพริษฐ์ ชิวารักษ์ ได้ขึ้นพูดบนเวทีว่า มีเจ้าหน้าที่ตำรวจมาบอกว่าเราอาจจะทำผิด มาตรการ.116 แต่วันนี้พวกเรามาอย่างสันติ อย่าปิดกั้น เรารู้ว่าพี่ตำรวจไม่อยากมาปิดกั้นพวกตนหรอก แต่เป็นเพราะนายของพวกพี่สั่งมา ถูกบังคับมา แต่นายของพวกพี่คือประชาชนที่อยู่ตรงนี้ทุกๆ คน เราไม่ใช่ศัตรูกัน เราคือประชาชน เราใช้สิทธิตามรัฐธรรมนูญ หน้าที่ของตำรวจคือการพิทักษ์สันติราษฎร์ เมื่อราษฎร์มารวมตัวกันอย่างสันติ มาเรียกร้องประชาธิปไตย อย่าปิดกั้นพวกเราเลย พี่อยากให้ลูกหลานโตมาอยู่ในสังคมแบบนี้หรือ เราสู้เพื่ออนาคตที่ดี ส่วน พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ประชาชนรู้หมดแล้วว่าคงไว้เพื่อใช้ควบคุมประชาชนใช่หรือไม่

隨後,菲特·奇瓦拉克先生走上臺,大聲說道:“有警察聲稱我們可能違反116號法令,但我們今天是和平而來不是來挑釁的,你們作爲警察就別再擋着我們了。我也知道,你們並不是想真正阻攔我們,而是領導下了命令,所以你們不得不來。但是,你們真正的領導是人民,是今天在這裏遊行的每一個人民!我們不是你們的敵人,我們是人民羣衆,行使的是憲法賦予我們的權力,你們警察的任務是保衛人民的和平。當人民以和平的方式聚集起來要求民主時,你們不應該前來阻攔。你們難道想要你們的子子孫孫在這樣一個社會中成長嗎?我們現在是爲了光明的未來而鬥爭,至於緊急法令,大家心裏都清楚,那簡直就是爲限制人民而存在的,對不對?”

曼谷發生集會,民衆要求巴育下臺:“就算是死,我也不怕!” 第5張

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า จากนั้นกลุ่ม สนท.และกลุ่มเยาวชนปลดแอกได้สลับกันขึ้นกล่าวบนเวที โดยต่างไม่พอใจการบริหารประเทศของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกฯ ที่บริหารประเทศล้มเหลว ทำให้เศรษฐกิจย่ำแย่ ทำให้ประชาชนเดือดร้อนลำบาก พร้อมทั้งใช้กฎหมายกำจัดสิทธิเสรีภาพ ข่มขู่ประชาชน เราจะยอมให้ถูกกระทำแบบนี้อีกหรือ

記者報道稱,在那之後,泰國學生聯合會和青年解放團的成員交替站上講臺,都對陸軍總司令巴育·佔奧差總理表達了不滿情緒,認爲他對國家的管理很失敗,既讓經濟走下坡路,讓人民羣衆處於水深火熱之中,還用法律限制人民的自由,甚至壓迫人民,“我們難道還要再甘願被如此對待嗎”。

เวลา 17.00 น. ผู้สื่อข่าวรายงานว่าเกิดความวุ่นวายอีกครั้ง เมื่อผู้ชุมนุมร่วมกันยกเวทีพร้อมดันเจ้าหน้าที่ตำรวจที่ตั้งแผงเหล็กกั้น จนขยับเข้าไปชุมนุมบนอนุสาวรีย์ฯ สำเร็จ

曼谷時間下午五點,記者報道稱,再一次發生了騷亂,聚集羣衆一起將組成臨時舞臺的桌椅舉起來,朝鐵柵欄後面的警察推去,一直涌到民主紀念碑上。

曼谷發生集會,民衆要求巴育下臺:“就算是死,我也不怕!” 第6張

抗議者們伸出三根手指,做出標誌性動作,一共對巴育政府提出了3點要求:1. 停止威脅人民;2. 解散議會;3. 重新起草泰國憲法。

>>戳我去微信觀看抗議視頻

這一場集會是怎樣來的呢?其實在7月16日開始,Facebook上就已經有了聚會遊行的倡議書,許多大學生也參與其中,“我們已經等這一刻等了80多年了,難道還要甘願這樣嗎?”

帕努蓬先生在演講上表示,自己從羅勇趕來,就是爲了這次的民主集會,自己已經收到過傳喚令,這個月23號便要回羅勇應訊,如果政府敢動大家一根汗毛,自己就不回羅勇了。“在出發之前,我已經讓母親準備好葬禮的錢,這次就算是死,我也要將抗議堅持到底!”帕努蓬說道。

曼谷發生集會,民衆要求巴育下臺:“就算是死,我也不怕!” 第7張

▲ 入夜後,人們打開手機的手電筒,稱還會繼續留下來抗議,並希望能有更多的人蔘與進來,用桌椅臨時搭建的舞臺上,時不時還有藝術家上臺演奏,演唱的歌曲也都是對社會的批評。與此同時,安保人員也在持續增加,現場的學生聯合會成員表示,絕不屈服於警察。

從1932年至今,因軍隊在政治中的特殊作用,使泰國成爲世界上軍事政變最多、權力交替最頻繁的國家之一。泰國前任國王普密蓬繼位以來,泰國共發生過20次左右的政變。

▼ 點擊收聽泰國國歌:

泰國的幾次重大政變

► 1932年政變:

1932年6月24日,暹羅人民黨領導的一次政治運動展開,這次政變結束了素可泰王朝以來沿襲600多年的君主制統治,泰國從此成爲君主立憲制的國家。

► 1947年政變:

1947年11月8日,軍方領袖鑾披汶掌權,泰國從此進入軍方統治,持續長達26年,直到1973年10月14日,以學生爲首的40萬名抗議羣衆推翻了軍方統治,帶來了短暫民主。

► 1976年政變:

1976年10月6日,泰國軍方發動極爲血腥的政變,殘酷鎮壓了法政大學左翼學生的抗爭行動。進入21世紀後,這批倖存者分成了兩部分即反對他信和支持他信,也就是“紅衫軍”和“黃衫軍”。

► 1991年政變:

1991年2月,順通將軍發動政變,推翻人文政府,設立“國家安全保護團”,以軍事執政團治理國家。

► 2006年政變:

2006年9月19日,泰國皇家軍隊在泰國首相他信赴美國紐約出席聯合國大會之際發動軍事政變。泰國政變軍方通過當地電視臺和廣播之聲宣佈,解散看守政府首相他信領導的內閣,由“泰國國家管理改革委員會”全權接管國家政權、臨時政府及一切內部或外部事務。

► 2014年政變:

2014年5月20日,泰國遭軍事政變,軍方宣佈戒嚴,總理英拉下落不明。在軍方發動軍事政變掌控該國後,泰國利率互換顯示泰國央行料將下調利率,以避免經濟陷入衰退。

曼谷發生集會,民衆要求巴育下臺:“就算是死,我也不怕!” 第8張

泰國由於政治結構比較特殊,因此軍隊往往以效忠國王爲名義,發動政變,推翻民選政府,甚至廢除憲法,導致泰國上到政治黨派,下到普通公民,都忽視了國家司法政治的重要性,一遇到問題就喜歡走極爲極端的道路。

但混亂中帶着詼諧的是,政變如此之多,但幾乎很少大範圍影響人民或者遊客的生活,討論政治是他們的權利和習慣,享受生活纔是正事。

小編不是泰國人,也沒辦法做什麼,只能希望在疫情風險期間,這次的集會不會讓泰國前期的抗疫成果白費。

曼谷發生集會,民衆要求巴育下臺:“就算是死,我也不怕!” 第9張

★★★教學部分★★★

① อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย 民主紀念碑

② อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ 勝利紀念碑

การประท้วง 遊行示威

ผิดกฎหมาย 違法

ชอบด้วยกฎหมาย 合法

สหพันธ์ 聯合會

รัฐธรรมนูญ 憲法

กฤษฎีกา 政令

กบฏ 造反

วุ่นวาย 混亂

(音頻錄製:科豪)

曼谷發生集會,民衆要求巴育下臺:“就算是死,我也不怕!” 第10張

聲明:本文由滬江泰語翻譯,未經允許禁止轉載。如有不妥,敬請指正。

熱點閱讀